ภาษีการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

ภาษีการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

หลักการจัดเก็บภาษีเงินได้
- หลักแหล่งเงินได้ (source principle) และหลักถิ่นที่อยู่ (residence principle)
- การจ่ายเงินไปต่างประเทศและหักภาษีตามประมวลรัษฎากร

อนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement : DTA)
- สาเหตุของปัญหาภาษีซ้อนระหว่างประเทศและวิธีขจัดภาษีซ้อน
- เทคนิคง่ายๆ ในการอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อน
- ประเภทของเงินได้ (active income/ passive income) กับการขจัดปัญหา

DTA : บริการส่วนบุคคล (Personal service)
- บริษัทต่างประเทศส่งผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นลูกจ้างของบริษัทเข้ามาทำงานให้กับบริษัทไทย
- บริษัทไทยได้ส่งพนักงานของบริษัทไปทำงานประจำและพักอาศัยในต่างประเทศ

DTA : กำไรจากธุรกิจ (Business profit)  
- ความหมายของสถานประกอบการถาวร (PE) และความเฉพาะ (หลักการ 3 A)
- สถานประกอบการถาวรประเภทกิจกรรม : วิธีการนับระยะเวลา (Time Test)
- ผู้เชี่ยวชาญของบริษัทต่างประเทศได้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในไทยเป็นระยะเวลาเกินกว่า 6 เดือน
 - การจ่ายค่าจ้าง/ ค่าบริการตามม.40(2) ไม่ต้องหักภาษีตามม.70 ใช่หรือไม่

DTA : ค่าสิทธิ (Royalty)
- ความหมายของค่าสิทธิตามอนุสัญญาภาษีซ้อน
- ข้อสนเทศเกี่ยวกับประสบการณ์ (Know-How) คืออะไร เป็นค่าสิทธิหรือไม่
- ความแตกต่างระหว่างสัญญารับจ้าง/ ให้บริการและ Know-how
- ค่าเช่าอุปกรณ์เป็นค่าสิทธิหรือไม่ จะต้องหักภาษีตามม.70 หรือไม่

การจ่ายเงินไปต่างประเทศและนำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.36)
การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ตามกฎหมายใหม่

วิทยากร อาจารย์สาโรช ทองประคำ

วันที่ 04 พฤศจิกายน 2566
ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ
(สุขุมวิท 11 BTS นานา)
เวลา 09.00-16.30 น.
(เริ่มลงทะเบียน 08.00 น. ปิดรับลงทะเบียน 09.00 น.)

สํารองที่นั่งทางเวปไซต์ http://www.ariya-seminar.com/index.php หรือ
โทร 02-090-2777
แฟ็กซ์ 02-090-2778
E-mail : seminar@ariyagroup.net

ลงทะเบียน

ภาษีการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

6611-06-239-001-01

อาจารย์สาโรช ทองประคำ

4 Nov, 2023

09:00

The Ambassador Hotel Bangkok

0ชั่วโมง 6 ชั่วโมง

สามารถชำระเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์
ธนาคารกสิกรไทย สาขาสุขุมวิท 18 เลขที่บัญชี 639-2-12007-4

ข้อมูลผู้เข้าอบรม สำหรับจัดทำเอกสารรับรองการเก็บชั่วโมง










© 2018 ARIYA ALL RIGHTS RESERVED